อินเดียแดนมหัศจรรย์ By Handy Monk in USA
Handy monk is a Thai monk lives in WatThai,D.C. and have serving the Thai& American society in metropolitan area. He lives in the United States since 1992.
Friday, November 12, 2010
Pilgrimage tour and Seminar on Buddhism in India
The Pilgrimage Tour and Seminar on Buddhism in India-Nepal
February 24 to March 5, 2011
February 24, 2011 Bangkok-Bodhgaya
9:00 a.m. Check in at the counter of Thai Airways (TG), depart for the Gaya International airport India
2:00 p.m. Arrive at Bodhgaya , meet the tour guide at the airport, and check into the Royal Residency Hotel Bodhgaya.
4:00 p.m. Visit the Mahabodhi Temple for prayers and meditation near the Bodhi Tree. As the place of the Buddha's Enlightenment, Bodhgaya is the spiritual home of Buddhists. It attracts ten of thousands of believers from all over the world. Bodhgaya, situated near the river Neranjara, is one of the holiest Buddhist pilgrimage centers since it was here that the Buddha attained Enlightenment under the Bodhi Tree. Evening chanting and meditation near the stupa. Have dinner and stay overnight at the hotel.
February 25, 2011 Bodhgaya: Seminar on Buddhist Missionary Works at Wat Thai Buddhagaya
After breakfast attend the opening ceremony for the Seminar on Buddhist Missionary Works in the Buddha Hall of Wat Thai Buddhagaya. There will be Thai Buddhist monks from around the world participating in this seminar and Buddhist scholars from universities in India and Thailand. Stay overnight at the Royal Residency Hotel Bodhgaya.
February 26, 2011 Bodhgaya: Seminar on Buddhist Missionary Works at Wat Thai Buddhagaya
The seminar starts after breakfast, and there is a key note speech. In the afternoon, sightseeing tour to the international Buddhist monasteries in the Buddhagaya area. Most countries with a large Buddhist population have a temple or monastery here. The twenty-five-meter Great Buddha Statue in the Japanese Kamakura style was unveiled by his Holiness the Dalai Lama in 1989. Visit the Mahabodhi Temple again for evening prayers. Have dinner and stay overnight at the Royal Residency Hotel Bodhgaya .
Feruary 27, 2011 Bodhgaya-Rajagaha-Magha Puja Chanting Ceremony
In the early morning travel to Rajagaha. Visit the Kichaguta, the first resident house of the Buddha, on the top of the Vulture Peak, as well as the caves of the arahants Sariputta and Moggallana, the great disciples of the Buddha. After lunch visit the oldest Buddhist university, the University of Nalanda. By the late afternoon, attend the Magha Puja Chanting Ceremony at Veruvanaram, the first monastery in the world, offered to the Buddha by King Bimbisara at Rajagaha. Stay at the Royal Residency Rajagaha.
February 28, 2011 Nalanda-Vesali-Kusinara
After breakfast travel to the sacred site of the Vesali Buddha relic stupa and the Mahawana temple, where the first female monk was ordained by the Buddha. Have lunch at Wat Thai Vesali and then travel to the city of Kasia. Stay at overnight at Wat Thai Kusinara.
March 1, 2011 Kusinara-Seminar Closing Ceremony–Lumbini (Nepal)
After breakfast attend the closing ceremony of the seminar in Buddhist missionary works at the Buddha Hall of Wat Thai Kusinara. Then have a lunch break.
After lunch check out from the temple and then visit the sacred site of the Buddha’s Mahaparinibbana, his passing away. Then travel to the border of Nepal. Stay at the Nirawana Hotel.
March 2, 2011 Lumbini-Savatthi
Lumbini is the birthplace of the Buddha. Lumbini grove, the sacred site of Lord Buddha's birth, is today a small village in Nepal twenty-seven kilometers from Sonauli on the Indo-Nepal border. Three hundred years after the Mahaparinirvana, Emperor Ashoka visited Lumbini and erected a pillar there. This pillar, though broken, still remains at the site. It is known as the Rummendei Pillar after the earlier name of the place. Go to the Indian border and travel to the city of Savatthi. Stay overnight at the Hotel Pawan.
March 3, 2011 Sightseeing in Savatthi
In the early morning visit the sacred temple named Jetavana and the Deanmahamongkol Thai nunnery in Savatthi. Savatthi, the capital of the ancient kingdom of Kosala, has the honor of having sheltered the Buddha in the Jetavana Gardens for twenty-four rainy seasons. The city, believed to have been founded by the mythological king Sravast, has age-old stupas, majestic monasteries, and several temples. The Buddha is said to have performed some miracles here.This holy place also has the famous Ananda Bodhi Tree, an offspring of the one tradition says was planted by the Buddha's main disciple. Stay in the Hotel Pawan.
March 4, 2011 Savatthi-Sarnath-Varanasi
After an early breakfast, depart at 6:30 a.m. for Varanasi and have a picnic lunch on the way to Varanasi. In the early part of the evening, visit Sarnath, where the Buddha preached his first sermon in the Deer Park. Sarnath contains most impressive remains from the past, as well as a modern temple. The Dhammarajika, Chaukhandi, and Dharmek stupas are outstanding. There are also the remnants of a monastery, and the beautifully polished Lion Capital of Ashoka. Sarnath contains an extensive library, and at the Mula Gandha Kutir Vihara there are excellent frescoes by Kosetsu Nosu. Then visit the Dhammek Stupa and, finally, attend the evening prayers at the Sri Lankan Temple. Return to the Ramada Hotel for dinner and stay overnight.
March 5, 2011 Sightseeing on the Ganges River-Departure for Bangkok
In the early morning visit the sacred river Ganges before sunrise to see how the Hindus of Varanasi pray to the rising sun and then to the river. Enjoy a boat ride on the Ganges and see the cremation grounds from the boat. Return to the hotel for breakfast. Then go shopping in the government store, which features the famous Varanasi silk. In the afternoon check out from the hotel and depart in the evening from Varanasi on the trip back to Bangkok via Thai Airways (TG).
For the PRICE : Call ++301-787-6108 or Email : t_inthisan@hotmail.com
The price includes;
- International flight Bangkok-Gaya, Varanasi-Bangkok By Thai Airways (TG)
- Accommodation (3-5 stars Hotels & Resorts) with complementary breakfast
- Lunch- Dinner (Buffet)
- Transportation with private coach 45 seats
- Boat Sightseeing Gangese River
- Entrance fee in all monuments
- Thai speaking throughout guide
The price does not include;
- Insurance
- Visa fee for India and Nepal
- Drinks and food are not mentioned in the program
- All other personal expenses
- Services not mentioned in the itinerary
Remarks:
- Confirmation of room & price are subject to space availability at the time of booking only
- All rates are subject to change without prior notices
- All above itinerary is flexible, depending on arrival or departure flights of passengers
- Ground operator reserved the right to amend or adjust itinerary to match with real situation
Contact for more informations :
These Buddhist Pilgrimage tour and seminar on Budhist missionary works sponsored by The Council of the Thai Bhikkhus in the USA. And the Council of the Thai monks in European countries.
For more information contact : Phramaha Thanat Inthisan,Ph.D Wat Thai Washington,D.C. 13440 Layhill Road, Silver Spring, MD 20906 USA. Tel. (301) 871-8660, Cell (301) 787-6108, E-mail: t_inthisan@hotmail.com URL: www.t-dhamma.org, www.thanat.iirt.net
Monday, August 16, 2010
จาริกธรรมสัมมนาสู่แดนพุทธภูมิ อินเดีย-เนปาล ๒๕๕๔
นมัสการอัฐมหาสถาน บำเพ็ญบุญบูชาคุณพระพุทธองค์
ตามรอยบาทพระศาสดาในพุทธสังเวชนียสถานสำคัญ ๘ แห่ง ณ ประเทศอินเดีย-เนปาล
24 กุมภาพันธุ์-5 มีนาคม 2554
***********
วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ (Bangkok-Buddhagaya)
เวลา ๐๙.๐๐ น. เช็คอินที่เคาน์เตอร์สายการบิน Thai Airways (TG) Flight 8820
เวลา ๑๒.๑๐ น.เครื่องบินออกเดินทางจากสนามบินสุวรรณภูมิ-สู่พุทธคยา
เวลา ๑๔.๐๐ น. เดินทางถึงสนามบินพุทธคยาผ่านพิธีการตรวจคนเข้าเมือง
เวลา ๑๕.๓๐ น. เข้าพักที่โรงแรม Royal Residency Hotel หรือ วัดไทยพุทธคยา
เวลา ๑๗.๐๐ น. เข้านมัสการสังเวชนียสถานแห่งที่ ๑ สถานที่ตรัสรู้ องค์พระเจดีย์พุทธคยา และต้นพระศรีมหาโพธิ์
• กราบนมัสการพระแท่นวัชรอาสน์ ที่ประทับนั่งตรัสรู้ในคืนวันเพ็ญเดือน ๖
• นมัสการสัตตมหาสถาน คือสถานที่เสวยวิมุตติสุข ๗ แห่งในบริเวณพระเจดีย์พุทธคยา
• พิธีถวายผ้าไตรจีวรห่มหลวงพ่อพุทธเมตตาที่สวยงามด้วยพุทธลักษณะและศักดิ์สิทธิ์ที่สุดภายในองค์พระเจดีย์พุทธคยา
• ทำวัตรสวดมนต์เย็น นั่งสมาธิเจริญจิตภาวนา แผ่เมตตา ฟังธรรมบรรยายจากพระวิทยากรผู้มีความเชี่ยวชาญด้านพระพุทธศาสนา และประวัติศาสตร์ ถ่ายรูปเป็นที่ระลึก แผ่เมตตา และเวียนเทียนรอบองค์พระมหาเจดีย์พุทธคยา
เวลา ๑๙.๐๐ น. พักฉันน้ำปานะ และญาติโยมรับประทานอาหารเย็น ที่ภัตตาคารของโรงแรม
เวลา ๒๑.๓๐ น. เข้าที่พักในโรงแรมตามอัธยาศัย
วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ พิธีเปิดการสัมมนาพระธรรมทูตโลก ณ วัดไทยพุทธคยา
เวลา ๖.๓๐ น. ฉันภัตตาหาร/รับประทานอาหารเช้า
เวลา ๘.๓๐ น. พิธีเปิดการสัมมนาพระธรรมทูตไทยที่ปฏิบัติศาสนกิจทั่วโลก
• ฟังการบรรยาย นำเสนอผลงาน โดย Key Note Speaker
• แบ่งกลุ่มการสัมมนากลุ่มย่อย
เวลา ๑๑.๐๐ น. พักฉันเพล/ผู้ร่วมประชุมสัมมนารับประทานอาหารกลางวัน
เวลา ๑๓.๐๐ น. เริ่มการสัมมนาภาคบ่ายตามกลุ่มย่อย
เวลา ๑๖.๐๐ น. นำเสนอสรุปผลการสัมมนาของแต่ละกลุ่ม
เวลา ๑๗.๓๐ น. พักการประชุมสัมมนา-ถวายน้ำปานะ-ญาติโยมรับประทานอาหาร
เวลา ๑๘.๐๐ น. เดินทางไปทำวัตรพระสวดมนต์เย็น ณ ปริมณฑลพระเจดีย์พุทธคยา
เวลา ๒๑.๐๐ น. เข้าที่พัก-พักผ่อนตามอัธยาศัย
วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ ปริมณฑลพุทธคยา และวัดนานาชาติรอบ ๆ พุทธคยา
เวลา ๐๙.๐๐ น. การสัมมนาพระธรรมทูตไทยที่ปฏิบัติศาสนกิจทั่วโลก ภาคเช้า
เวลา ๑๑.๐๐ น. พักฉันเพล/ผู้ร่วมประชุมสัมมนารับประทานอาหารกลางวัน
เวลา ๑๓.๐๐ น. เริ่มการสัมมนาภาคบ่าย
เวลา ๑๖.๐๐ น. สรุปผลการสัมมนา-ถ่ายภาพเป็นที่ระลึก
เวลา ๑๗.๓๐ น. ทอดผ้าป่าบำรุงวัด-ถวายน้ำปานะ-ญาติโยมรับประทานอาหาร
เวลา ๑๘.๐๐ น. เดินทางไปทำวัตรพระสวดมนต์เย็น ณ ปริมณฑลพระเจดีย์พุทธคยา
เวลา ๒๑.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ พุทธคยา-ราชคฤห์ (พักที่วัดไทยนาลันทา)
เวลา ๕.๐๐ น. ออกเดินทางไปเมืองราชคฤห์แวะรับประทานอาหารเช้าระหว่างทาง
เวลา ๘.๐๐ น. ขึ้นเขาคิชฌกูฎ-ถ้ำสุกรขาตา ถ้ำพระโมคคัลลานะ
เวลา ๑๐.๐๐ น. พีธีสวดมนต์ เจริญสมาธิ และประกาศปฏิญญาวันมาฆบูชา วันสำคัญของชาวพุทธทั่วโลก ณ วัดเวฬุวันมหาวิหาร-ชมตโปธาราม บ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ของฮินดู
เวลา ๑๑.๐๐ น. ฉันเพลที่วัดไทยสิริราชคฤห์ -ประกอบพิธีเปิดป้ายอาคารเฉลิมพระเกียรติ
เวลา ๑๔.๐๐ น. ชมมหาวิทยาลัยนาลันทาเก่า-ทอดผ้าป่าบำรุงวัดไทยนาลันทา/พัก ๑ คืน
วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ นาลันทา-เวสาลี-กุสินารา(พักที่วัดไทยกุสินาราเฉลิมราชย์)
เวลา ๖.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเช้าแล้วออกเดินทางไปเมืองเวสาลี ชมสถูปพระบรมสารีริกธาตุ-สระอภิเษกของเจ้าลิจฉวี
เวลา ๑๑.๐๐ น. พักฉันเพลที่วัดไทยไวสาลี ทอดผ้าป่าบำรุงวัด
เวลา ๑๓.๐๐ น. เจริญพระพุทธมนต์บทรัตนสูตร ณ อานันทะสถูป กูฎาคารศาลา ป่ามหาวัน หลักศิลาจารึกพระเจ้าอโศกรูปสิงห์หมอบที่หัวเสาที่คงสมบูรณ์ที่สุด
เวลา ๑๖.๐๐ น. ออกเดินทางไปพักที่วัดไทยกุสินาราเฉลิมราชย์ เมืองกุสินารา
วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๔ กุสินารา-ลุมพินี (พักลุมพินี)
เวลา ๗.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเช้า/รับประทานอาหารเช้า
เวลา ๘.๐๐ น. พิธีปิดการสัมมนาพระธรรมทูตโลก –มอบเกียรติบัตรแก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา
เวลา ๑๑.๐๐ น. พักฉันเพลที่วัดไทยกุสินาราเฉลิมราชย์
เวลา ๑๓.๐๐ น.เยี่ยมสาลวโนทยาน-นมัสการปรินิพพานวิหาร นั่งสมธิ แผ่เมตตา-เวียนเทียน รอบองค์ปรินิพพานสถูป และเยี่ยมชมสถูปรามภาร์ หรือ มกุฎพันธนเจดีย์สถานที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระศาสดา
เวลา ๑๕.๐๐ น. ออกเดินทางไปประเทศเนปาลผ่านด่านโสเนารี(ตรวจตราในพาสปอร์ต)
เวลา ๒๐.๐๐ น. เข้าพักที่ลุมพินี ๑ คืน
วันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๕๔ ลุมพินี-สาวัตถี (พักสาวัตถี)
เวลา ๖.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้า
เวลา ๗.๐๐ น.เข้าสวนลุมพินีวันสวดมนต์ทำวัตรเช้านั่งสมาธิ ณ เสาอโศกเวียนเทียนในมายา เทวีวิหาร- ถ่ายรูปเป็นที่ระลึก ณ สระโบกขรณี และซื้อของที่ระลึกจากเนปาล
เวลา ๑๑.๐๐ น. พักฉันเพลที่วัดไทยลุมพินี ทอดผ้าป่าบำรุงวัด
เวลา ๑๓.๐๐ น.ออกเดินทางเข้าอินเดียผ่านด่านโสเนารีแล้วเดินทางไปเมืองสาวัตถี เข้าพักที่โรงแรม ๑ คืน
วันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๔ สาวัตถี (พักสาวัตถี)
เวลา ๖.๐๐ น. รับประทานอาหาร
เวลา ๗.๐๐ น.ชมซากปราสาทอนาถบิณฑิกเศรษฐี-ปราสาทบิดาท่านองคุลีมาล สำนักปฏิบัติ ธรรมแดนมหามงคลของแม่ชีบงกช สิทธิผล
เวลา ๑๑.๐๐ น. พักฉันเพลที่โรงแรมที่พัก
เวลา ๑๔.๐๐ น.เข้าชมวัดพระเชตวันมหาวิหาร สวดมนต์นั่งสมาธิ เข้าพักที่โรงแรมอีก ๑ คืน
วันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๔ สาวัตถี-สารนาถ-สวดปาฎิโมกข์ที่ธัมเมกขสถูป (พักเมืองพาราณสี)
เวลา ๖.๓๐ น. รับประทานอาหารเช้า
เวลา ๖.๐๐ น.ออกเดินทางไปเมืองสารนาถ แวะพักฉันเพลระหว่างทางแบบบิคนิค
เวลา ๑๕.๐๐ น. ชมพิพิธภัณฑ์สารนาถที่มีพระพุทธรูปปางปฐมเทศนาที่สวยที่สุด และหัวสิงห์ เสาอโศกที่สมบูรณ์ที่สุด-มูลคันธกุฎี/สมาคมมหาโพธิ์
เวลา ๑๖.๐๐ น. ทำวัตรนมัสการธัมเมกสถูป-พิธีสวดพระปาฏิโมกข์ที่ธัมเมกขสถูป และมอบรางวัลแด่พระธรรมทูตดีเด่น
เวลา ๑๘.๐๐ น. เข้าพักที่โรงแรมในเมืองพาราณสี
-รับประทานอาหารเย็น และพักผ่อนตามอัธยาศัย
วันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๔ พาราณสี-ล่องแม่น้ำคงคา-
เวลา ๕.๐๐ น. ลงเรือล่องแม่น้ำคงคาชมการอาบน้ำ ชำระบาปของชาวฮินดู
เวลา ๗.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเข้าในโรงแรมแล้วไปชอปปิ้งผ้ากาสีที่มีชื่อเสียงของฝากกลับบ้าน
เวลา ๑๑.๐๐ น. พักฉันภัตตาหารเพล/รับประทานอาหาร ในโรงแรม
เวลา ๑๓.๐๐ น. เดินทางไปสนามบินเมืองพาราณสี แล้วเช็คอินที่สายการบิน Thai Airways
TG 8821 สนามบินเมืองพาราณสี
เวลา ๑๖.๓๐ น. เครื่องบินออกเดินทางจากพาราณสีกลับกรุงเทพมหานคร
เวลา ๒๑.๑๕ น. เดินทางถึงสนามบินสุวรรณภูมิ กรุงเทพฯโดยสวัสดิภาพ
**รายการเดินทางนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสมแต่ถือประโยชน์ของผู้เดินทางเป็นสำคัญ
ค่าใช้จ่ายประมาณการ ประกอบด้วย (ให้โทร.สอบถามรายละเอียด ที่ 301-787-6108) เหรีญสหรัฐฯ
• ค่าตั๋วเครื่องบินชั้นทัศนาจรไป-กลับ กรุงเทพ-พุทธคยา-กรุงเทพฯ
• ค่าที่พักโรงแรมชั้นหนึ่งในเมืองนั้น ๆ
• ค่าเช่ารถโค๊ชรับนักทัศนาจรท่องเที่ยวไปตลอดเส้นทางตามรายการและรับ-ส่งถึงสนามบินวันเดินไปและเดินทางกลับ
• ค่าอาหารทุกมื้อตามรายการเดินทางท่องเที่ยวไปในแดนพุทธภูมิ
• ค่าน้ำดื่มบริสุทธิ์แจกทุกวัน
• ค่าเข้าชมสถานที่ทุก ๆ แห่ง
• ค่าขนกระเป๋าและสัมภาระต่าง ๆ
• ค่าเช่าเรือล่องแม่น้ำคงคา
ค่าใช้จ่ายนี้ไม่รวม
• ค่าพาสปอร์ต และค่าวีซ่า (ต้องทำเอง)
• ค่าทิป รางวัลคนขับรถ-เด็กรถ และไกด์นำทัวร์ ทั้งพระและฆราวาส
• ค่าโทรศัพท์ อาหารและเครื่องดื่มนอกรายการ
• ค่าซักรีด และของใช้ส่วนตัวอื่น ๆ
สนใจติดต่อได้ที่ ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี ผู้นำทัศนศึกษา-ธรรมวิทยากรตลอดการเดินทาง
สถานที่ติดต่อ วัดไทยกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. 13440 Layhill Road , Silver Spring , MD 20906 Tel.(301) 871-8660, 871-8661, fax. 301-871-5007 Mobile: 301-787-6108
E-mail: t_inthisan@hotmail.com, www.handytourindia.blogspot.com
(ด่วนรับเพียง ๓๕ ท่านเท่านั้นหมดเขต ๒๕ พ.ย.๕๓นี้ จองที่นั่งโดยส่งเช็คมัดจำ ๕๐๐ เหรียญ พร้อม Copy Passport ส่งมาตามที่อยู่นี้)
Monday, April 06, 2009
Thursday, October 06, 2005
รายการเดินทางไปนมัสการสังเวชนียสถานอินเดีย-เนปาล
นำนมัสการอัฐมหาสถาน(พุทธสถานสำคัญ ๘ แห่ง)
ณ ประเทศอินเดีย-เนปาล
ระหว่างวันที่ ๑๒-๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙
*******
วันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙ (เดินทางจากกรุงเทพฯ สู่ดินแดนพุทธภูมิ)
เวลา ๑๑.๐๐ น. พร้อมกันที่สนามบินดอนเมืองอาคาร ๑ เคาน์เตอร์ที่ ๘ (Indian Airlines)
เวลา ๑๔.๐๐ น. ออกเดินทางจากท่าอากาศยานกรุงเทพฯโดยสายการบิน Indian Airlines
เวลา ๑๖.๐๐ น. (เวลาท้องถิ่น) ถึงสนามบินเมืองคยา (Gaya Airport)อินเดีย
เวลา ๑๗.๐๐ น. เข้าพักที่โรงแรม Royal Residency Hotel รับประทานอาหารเย็นแล้วไปกราบนมัสการองค์เจดีย์พุทธคยา สวดมนต์ไหว้พระ, เวียนเทียนรอบองค์พระเจดีย์ ชมบรรยากาศการสวดมนต์ของชาวพุทธนานาชาติในเวลากลางคืนตามอัธยาศัย
เวลา ๒๑.๓๐ น. กลับเข้าที่พัก
วันที่ ๑๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙ (นมัสการองค์พระเจดีย์พุทธคยา-ชมวัดพุทธนานาชาติ)
เวลา ๐๖.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้า แล้วออกเดินทางไปไหว้องค์พระเจดีย์ สถานที่ตรัสรู้และต้นพระศรีมหาโพธิ์ พระแท่นวัชรอาสน์ ที่ประทับนั่งตรัสรู้ในคืนวันเพ็ญเดือน ๖
นมัสการสัตตมหาสถาน คือ สถานที่เสวยวิมุตติสุข ๗ แห่ง ในบริเวณพระเจดีย์พุทธคยา นมัสการองค์หลวงพ่อพุทธเมตตาที่สวยงามด้วยพุทธลักษณะและศักดิ์สิทธิ์ที่สุดภายในองค์พระเจดีย์พุทธคยา เปิดโอกาสให้นั่งสมาธิ ฟังธรรมบรรยาย ถ่ายรูปเป็นที่ระลึก อย่างเต็มที่
เวลา ๑๑.๒๐ น.ฉันภัตตาหารเพลที่ภัตตาคารของโรงแรม พร้อมกับญาติโยมรับประทานด้วย
เวลา ๑๔.๐๐ น. ชมวัดนานาชาติ เช่น วัดทิเบต วัดญี่ปุ่น วัดภูฐาน วัดสิกขิม เป็นต้น ซึ่งอยู่รอบ ๆ พุทธคยา ชมแม่น้ำเนรัญชรา หมู่บ้านนางสุชาดา, ที่อธิษฐานลอยถาด, ที่รับหญ้าคาจากโสตถิยพราหมณ์ เป็นต้น
เวลา ๑๘.๐๐ น. ฉันน้ำปานะ และญาติโยมรับประทานอาหารเย็น ที่ภัตตาคารของโรงแรม
เวลา ๑๙.๐๐ น. ไปไหว้พระสวดมนต์เย็นที่เจดีย์พุทธคยา (ตามอัธยาศัย) เสร็จแล้วเข้าที่พัก
วันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๔๙ (พุทธคยา-พาราณสี)
เวลา ๐๖.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้า
เวลา ๐๗.๐๐ น. ออกเดินทางจากเมืองพุทธคยา มุ่งหน้าสู่เมืองพาราณสี พักฉันเพลในระหว่างทาง ต้องใช้เวลาเดินทางประมาณ ๘-๙ ชั่วโมง
เวลา ๑๕.๐๐ น. ถึงเมืองสารนาถ เข้าชมพิพิธภัณฑ์สารนาถ ชมพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะที่สวยงามที่สุดในโลก เสาหัวสิงห์พระเจ้าอโศก อายุ ๒,๓๐๐ กว่าปี และวัตถุโบราณที่ล้ำค่าหาดูได้ยาก และนำชมสถานที่สำคัญบริเวณเมืองสารนาถ เช่น เจาคัณทีสถูป สถานที่พระพุทธเจ้าพบกับปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ชมวัดไทยสารนาถ กราบนมัสการพระพุทธรูปหินทรายที่งดงามที่สุด ทำบุญทอดผ้าป่าบำรุงวัดไทย ตามอัธยาศัย เป็นต้น
เวลา ๑๖.๐๐ น. เข้านมัสการธัมเมกสถูป สถานที่แสดงธรรมเทศนาครั้งแรก พร้อมกันไหว้พระทำวัตรเย็น และสวดบทพระธัมมจักกัปวัตตนสูตร, เวียนเทียนรอบองค์พระสถูปใหญ่, นมัสการมูลคันธกุฏีของพระพุทธเจ้า และเยี่ยมชมมูลคันธกุฎี(ใหม่)สมาคมมหาโพธิ์ของท่าน อนาคาริกธัมมปาละ ชมภาพจิตรกรรมฝาผนังที่งดงาม มีความละเอียดอ่อนทางด้านพุทธศิลป์
เวลา ๑๘.๐๐ น. เข้าที่พักที่โรงแรม Clark (หรือเทียบเท่า ๕ ดาว)
วันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๙ (ล่องแม่น้ำคงคาที่ศักดิ์สิทธิ์- ไปเมืองสาวัตถี)
เวลา ๐๔.๓๐ น. ออกจากที่พักไปยังแม่น้ำคงคาในเมืองพาราณสี นั่งเรือล่องแม่น้ำคงคาที่ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู เป็นสถานที่อาบน้ำล้างบาป และมีท่าเผาศพซึ่งไฟไม่เคยดับจากเชิงตะกอนนานกว่า ๔,๐๐๐ ปี ชมเมืองพาราณสีที่เก่าแก่ไม่เคยร้าง
เวลา ๐๗.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้าที่โรงแรม
เวลา ๐๙.๐๐ น. ออกเดินทางไปเมืองสาวัตถี
เวลา ๑๑.๐๐ น. ฉันภัตตาหารและญาติโยมรับประทานอาหารกลางวันแบบปิคนิค
เวลา ๑๖.๐๐ น. ชมสถานที่แสดงยมกปาฎิหาริย์ และไปชมซากบ้านของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี มหาเศรษฐีผู้สร้างพระเชตวันมหาวิหารถวายพระพุทธองค์ จากนั้นชมซากบ้านเกิดของท่าน องคุลิมาล
เวลา ๑๘.๐๐ น. เข้าที่พัก ณ โรงแรม Nikko Lotus
วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๔๙ (สาวัตถี )
เวลา ๐๗.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้าที่โรงแรมที่พัก
เวลา ๐๘.๓๐ น. เข้าชมบริเวณวัดพระเชตวันมหาวิหาร และนมัสการพระคันธกุฎีของพระพุทธองค์, ทำวัตรสวดมนต์และสวดบทมงคลสูตร เพราะเป็นที่พระองค์แสดงครั้งแรก ,นมัสการกุฎิพระอรหันต์แปดทิศ, ชมหมู่กุฎิพระอรหันต์แปดสิบองค์ และอานันทโพธิ ต้นโพธิ์ที่เก่าแก่ในวัดพระเชตวันฯ
เวลา ๑๑.๐๐ น. พักฉันภัตตาหารเพลที่โรงแรม
เวลา ๑๓.๐๐ น. ชม แดนมหามงคล สาวัตถีเมืองแก้ว ของอุบาสิกาบงกช
เวลา ๑๙.๐๐ น. เข้าพัก ณ โรงแรม Nikko Lotus
วันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๔๙ (สาวัตถี-ลุมพินี)
เวลา ๐๖.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้าที่โรงแรม
เวลา ๐๗.๐๐ น. ออกเดินทางจากเมืองสาวัตถี มุ่งหน้าสู่ประเทศเนปาล ผ่านด่านโสนารีรับประทานอาหารแบบปิกนิก ระหว่างทาง
เวลา ๑๕.๐๐ น. ถึงสวนลุมพินีวัน สถานที่ประสูติ เข้านมัสการมายาเทวีวิหาร เวียนเทียนรอบเสาอโศก นั่งสมาธิ แผ่เมตตา แวะเยี่ยมวัดไทยลุมพินี ทอดผ้าป่าบำรุงวัดตามอัธยาศัย
เวลา ๑๘.๐๐ น. เข้าพักโรงแรมนิวการ์เดน/ รับประทานอาหารเย็น/พักผ่อน
วันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๔๙ (ลุมพินี-กุสินารา)
เวลา ๐๖.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้าที่โรงแรม
เวลา ๐๗.๐๐ น. กลับออกไปยังเมืองกุสินารา ผ่านด่านโสเนารีเข้าประเทศอินเดีย รับประทานอาหารกลางวันระหว่างทาง
เวลา ๑๕.๐๐ น. ถึงเมืองกุสินารา สถานที่ปรินิพพานของพระพุทธเจ้า เข้ากราบนมัสการพระพุทธปฏิมาปางปรินิพพานในวิหาร เวียนเทียนรอบองค์พระสถูปปรินิพพาน และสวดมนต์ทำวัตรเย็นร่วมกัน นั่งสมาธิ แผ่เมตตา จนได้เวลาอันสมควร/เข้ากราบนมัสการ และเวียนเทียนรอบพระสถูป มกุฎพันธนเจดีย์ สถานที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพ
เวลา ๑๘.๐๐ น. เข้าพักที่โรงแรม Nikko Lotus /รับประทานอาหารเย็น/พักผ่อน
วันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๔๙ (กุสินารา-เวสาลี-ปัตนะ)
เวลา ๐๖.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้าที่โรงแรม
เวลา ๐๗.๓๐ น. ออกเดินทางจากเมืองกุสินารา มุ่งหน้าสู่เมืองเวสาลี รับประทานอาหารกลางวันระหว่างทาง
เวลา ๑๕.๐๐ น. เข้านมัสการฐานพระสถูปที่เคยบรรจุพระบรมสารีริกธาตุสมัยกษัตริย์ลิจฉวีที่ได้ส่วนแบ่งจากเมืองกุสินารา พร้อมกันไหว้พระสวดมนต์ และสวดบทนมัสการพระสถูป, เวียนเทียนรอบฐานพระสถูป นั่งสมาธิ แผ่เมตตา-ชมสระอภิเษกที่ศักดิ์สิทธิ์ของเจ้าลิจฉวี ซึ่งยังมีน้ำใสเย็นเต็มเปี่ยมอยู่ตลอดเวลา
เวลา ๑๖.๐๐ น. เข้าชม “กูฎาคาร” ป่ามหาวัน สถานที่พระนางมหาปชาบดีพร้อมด้วยเจ้าหญิงศากิยะ ๕๐๐ องค์ ทูลขอบวชเป็นภิกษุณี ชมเสาสิลาจารึกของพระเจ้าอโศกที่หัวเสาเป็นสิงห์ยังสมบูรณ์แบบที่สุด นมัสการอานนทสถูป ซึ่งสร้างขึ้นเป็นอนุสรณ์แก่พระอานนท์
เวลา ๑๘.๐๐ น. เดินทางไปยังเมืองปาฏลีบุตร หรือเมืองปัตนะในปัจจุบัน ข้ามสะพานมหาตมะคานธีที่ยาวที่สุด
เวลา ๑๙.๓๐ น. เข้าพัก ที่โรงแรมChina Kayi ของเมืองปัตนะ /รับประทานอาหารเย็น
วันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๔๙ (ปัตนะ-นาลันทา-ราชคฤห์)
เวลา ๐๖.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้าในโรงแรม
เวลา ๐๘.๐๐ น. เข้าชมอโศการาม ที่ทำสังคายนาครั้งที่ ๓ ของพระเจ้าอโศกมหาราช
เวลา ๐๙.๓๐ น. ออกเดินทางไปยังเมืองนาลันทา
เวลา ๑๑.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเพลและญาติโยมรับประทานอาหารกลางวันระหว่างทาง
เวลา ๑๔.๐๐ น. ชมมหาวิทยาลัยนาลันทา (Nalanda University) ที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุดในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา นมัสการพระสถูปที่นิพพานของพระสารีบุตร
เวลา ๑๖.๐๐ น. เข้าชมพระเวฬุวันมหาวิหาร วัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา ชมตโปธาร บ่อน้ำร้อนศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู ชมคลังสมบัติของพระเจ้าพิมพิสาร เป็นต้น
เวลา ๑๘.๐๐ น. เข้าสู่ที่พักที่โรงแรม Royal Residency Hotel รับประทานอาหารเย็น พักที่นี่ ๑ คืน
วันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๔๙ (ราชคฤห์-พุทธคยา)
เวลา ๐๖.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้า
เวลา ๗๐.๐๐ น. ขึ้นภูเขาคิชกูฎ นมัสการพระคันธกุฏิของพระพุทธเจ้า, กุฏิพระอานนท์, ถ้ำสุกรขาตา ถ้ำพระสารีบุตร, ถ้ำพระมหาโมคคัลลานะ , ชมวัดชีวกัมพวัน, คุกที่คุมขังพระเจ้าพิมพิสาร
เวลา ๑๑.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเพลที่โรงแรม Royal Residency Hotel, Rajgirh
เวลา ๑๓.๐๐ น. ถวายผ้าป่าทำบุญวัดไทยสิริราชคฤห์
เวลา ๑๕.๐๐ น. ออกเดินทางไปพุทธคยา และเข้าที่พัก ที่โรงแรม Royal Residency Hotel.
เวลา ๑๗.๐๐ น. เยี่ยมพระธรรมทูตวัดไทยพุทธคยา ทอดผ้าป่าบำรุงวัด
เวลา ๑๘.๐๐ น. กลับเข้าที่พัก รับประทานอาหารเย็ฯ
เวลา ๑๙.๐๐ น. ไปไหว้พระสวดมนต์ทำวัตรเย็น และนั่งสมาธิ แผ่เมตตาที่ต้นพระศรีมหาโพธิ์
เวลา ๒๑.๐๐ น. เข้าสู่ที่พักโรงแรม Royal Residency Hotel
วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๙ พุทธคยา –กรุงเทพฯ
เวลา ๐๗.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้า
เวลา ๐๘.๐๐ น. ออกเดินทางไปสนามบิน
เวลา ๐๙.๐๐ น. เช็คอินที่เคาน์เตอร์ Indian Airlines
เวลา ๑๑.๐๐ น. เครื่องบินออกเดินทางกลับสู่กรุงเทพฯ
เวลา ๑๔.๐๐ น. (ตามเวลาท้องถิ่น)เดินทางถึงท่าอากาศยานกรุงเทพ โดยสวัสดิภาพ
หมายเหตุ รายการเดินทางอาจจะมีการปรับเปลี่ยนได้ตามความสะดวก/ประหยัด และเหมาะสม
รายละเอียดค่าใช้จ่าย และการเตรียมตัวในการเดินทาง
๑. ค่าบริการ สำหรับฆราวาสท่านละ $ ( บาท) พระภิกษุท่านละ $
(บาท) ซึ่งจะต้องใช้จ่ายดังรายการต่อไปนี้
ค่าใช้จ่ายนี้รวม; - ค่าตั๋วเครื่องบินชั้นทัศนาจรไป-กลับ กรุงเทพฯ-พุทธคยา - ค่าภาษีสนามบินทุกแห่งตลอดรายการ - ค่ารถโค้ชชั้นหนึ่งขนาด 35 ที่นั่ง(ปรับอากาศ)ตลอดการเดินทาง - ค่าที่พักตามที่ระบุไว้ในรายการ - ค่าอาหารทุกมื้อตามที่ระบุไว้ในรายการ, ค่าธรรมเนียมเข้าชมสถานที่ต่าง ๆ - ค่ามัคคุเทศก์ทั้งชาวไทยและชาวอินเดียพื้นเมืองอำนวยความสะดวกตลอดการเดินทาง, - ค่าขนกระเป๋าเดินทางและทิปต่างๆ
-กรุณานำกระเป๋าเดินทางใบใหญ่ไปไม่เกินท่านละ 20 กก.หากเกินกว่านั้นผู้เดินทางต้องจ่ายเพิ่มเองค่าใช้จ่ายนี้ไม่รวม; -ค่าธรรมเนียมหนังสือเดินทางและเอกสารต่างด้าว - ค่าใช้จ่ายส่วนตัวอื่นๆ เช่นค่าโทรศัพท์ โทรสาร ค่าซักรีด ค่าเครื่องดื่มและค่าใช้จ่ายนอกเหนือจากที่ระบุในรายการ ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม7%ภาษีการค้า3%(จากค่าบริการ)หมายเหตุ; * - ขอสงวนสิทธิ์ในความรับผิดชอบใดๆในส่วนของค่าใช้จ่ายที่อาจเพิ่มขึ้นในกรณีเกิดการล่าช้าหรือยกเลิกเที่ยวบินจากสายการบิน,อุบัติเหตุร้ายแรงตามธรรมชาติต่างๆ การนัดหยุดงานหรือปัญหาทางการเมืองที่เป็นเหตุสุดวิสัยอันทำให้เกิดการผิดพลาดจากรายการข้างต้น - กำหนดการเดินทางข้างต้นอาจมีการเปลี่ยนแปลงและ/หรือแก้ไขได้ตามความจำเป็นของ สถานการณ์ โดยจะถือเอาประโยชน์ของผู้เดินทางทุกท่านเป็นสำคัญ - คณะผู้จัดการเดินทางจะไม่รับผิดชอบใดๆทั้งสิ้น หากผู้ร่วมเดินทางไปกับคณะและนำสิ่งผิดกฎหมายหรือของต้องห้ามเดินทางไปกับคณะโดยเด็ดขาด๒. สัมภาระในการเดินทาง
กระเป๋าเดินทางนำไปได้ท่านละ ๑ ใบ น้ำหนักไม่เกิน ๒๐ ก.ก. และกระเป๋าถือสำหรับของใช้ส่วนตัว
๓. เงินตรา
เงินที่จะนำติดตัวไปต้องแลกเป็นเงินสกุลดอลล่าร์อเมริกัน เครื่องประดับ เช่นทองคำหนักไม่เกิน ๕ บาท (ไม่แนะนำให้แต่งตัวด้วยเครื่องประดับราคาแพง) ส่วนเงินบาทไทยจะนำติดตัวออกได้ไม่เกิน
๕๐,๐๐๐ บาท(ห้ามนำเงินรูปีเข้าไปเพราะผิดกฎหมาย)
๔. ยารักษาโรค และของใช้อื่น ๆ
สิ่งที่ควรนำติดตัวไปคือยารักษาโรคประจำตัว หรือ ยาแก้แพ้(เมารถ) ยาแก้ท้องเสีย เป็นต้น ร่มกันแดด ไฟฉายเล็ก ๆ เสื้อกันหนาว ผ้าพลาสติกรองนั่งสวดมนต์ ส่วนของใช้ที่เป็นโลหะมีคม เช่น ช้อน-ส้อม มีด หรือคัตเตอร์ อย่าใส่ไว้ในกระเป๋าถือติดตัวโดยเด็ดขาด ต้องใส่ไว้ในกระเป๋าใหญ่เท่านั้น กล้องถ่ายรูป หรือไฟฉายต้องนำเอาแบตเตอรี่ออกไว้ต่างหากขณะที่จะขึ้นเครื่องบิน เพราะไม่อนุญาตให้ถ่ายรูปในสนามบินอินเดีย
๕. ยืนยันการเดินทาง
ท่านที่ประสงค์จะร่วมเดินทางไปจาริกแสวงบุญนมัสการพุทธสถานในครั้งนี้ กรุณาติดต่อล่วงหน้าก่อนอย่างน้อย ๓ เดือน และจ่ายเงินก่อนล่วงหน้า ๖๐๐ เหรียญฯ พร้อมสำเนาหนังสือเดินทาง เพื่อจองตั๋วเครื่องบิน(ส่วนทำวีซ่าเข้าประเทศอินเดียให้ดำเนินการขอเองที่สถานทูตอินเดียในกรุงวอชิงตัน ดีซี.)
๖. ส่วนที่เหลือ ขอความกรุณาจ่ายส่วนที่เหลือประมาณสิ้นเดือนตุลาคมศกนี้
ค่าบริการนี้ไม่รวมค่าหนังสือเดินทาง ค่าวีซ่า ซึ่งท่านจะต้องไปทำหนังสือเดินทางด้วยตัวท่านเอง หนังสือเดินทางที่ยังใช้ได้ต้องมีอายุอยู่ไม่ต่ำกว่า ๖ เดือน ถ้าหมดอายุจะต้องต่ออายุหนังสือเดินทางก่อน
ถ้าท่านสงสัยประการใด โปรดติดต่อได้ที่
1. ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี ตำแหน่งพระธรรมทูตสายต่างประเทศ วัดไทยกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สถานที่ติดต่อ วัดไทยกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. 13440 Layhill Road , Silver Spring , MD 20906
Tel.(301) 871-8660, 871-8661, fax. 301-871-5007 Mobile: 240-464-7091
E-mail: t_inthisan@hotmail.com, pemhandy@yahoo.com
2. พระมหาพัน สุภาจาโร วัดไทยพุทธคยา รัฐพิหาร อินเดีย โทร.07-053-3718(Thailand)
91-9431-042521(India) E-mail: p_bodhgaya@yahoo.co.in
ท่านที่สนใจจะร่วมเดินทางกรุณากรอกชื่อและที่อยู่ในแบบฟอร์ม ส่งไปที่
PhramahaThanat Inthisan Wat Thai Washington,D.C. 13440 Layhill Road, Silver Spring, MD 20906
Tel.(301) 871-8660, 871-8661, Fax.(301) 871-5007, E-mail: t_inthisan@hotmail.com , t_inthisan@rediffmail.com www.thanat.iirt.net, www.handytour.blogspot.com
ส่งด่วนภายในเดือนกันยายนนี้ และกรุณาวางมัดจำก่อน $ 600
สั่งจ่าย (Pay to) Thanat Inthisan ส่วนที่เหลือจ่ายภายในเดือนตุลาคม ๔๘ นี้
ขอเชิญร่วมเดินทางธรรมสัญจร สู่แดนพระพุทธองค์ ๑๒ วัน ๑๒ คืน
ระหว่างวันที่ ๑๔ – ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙ (Jan.14-25, 2006)
(รายละเอียดดูในรายการเดินทาง)
· อินเดีย แดนศิวิไลย์อันเร้าระทึกใจ นำท่านมนัสการพุทธสังเวชนียสถาน (อัฐมหาสถาน ๘ แห่ง) ในอินเดีย เนปาล
· การแสวงบุญสู่โลกแห่งความรุ่งเรืองอันสงบ สู่ดินแดนอันเป็นถิ่นกำเนิดแห่งพระพุทธศาสนา และตามรอยบาทแห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
· เป็นการเดินทางสู่ความเรืองรองแห่งแสงพระธรรม และความรุ่งโรจน์ในอดีต
· ชมมหาราชวัง และความวิจิตรอันสุดลึกล้ำด้านศิลปะ
· สัมผัสวิถีชีวิต ของชาวอินเดีย ที่ยึดมั่นในหลักของศาสนาฮินดู และวัฒนธรรมที่เก่าแก่ที่สุดประเทศหนึ่งในโลก
ข้าพเจ้ามีความต้องการที่จะเดินทางร่วมไปกับคณะธรรมสัญจร สู่แดนพระพุทธองค์ และยินดีที่จะปฏิบัติตามรายการที่กำหนดไว้ทุกประการ
ชื่อ..............................................นามสกุล..............................................................
First Name……………………………………………………………..
Last Name……………………………………………………………..
Thai Passport No………………………………….U.S.Passport No…………………………...
Address…………………………………………………………………………
City……………………………………State………..Zip……………………..
Tel.(………)…………………………..(w.)………………………………(H.)
Fax.(……...)…………………………...E-mail:…………………………………
ท่านที่สนใจจะร่วมเดินทางกรุณากรอกชื่อและที่อยู่ในแบบฟอร์มนี้ ส่งไปที่
พระมหาถนัด อตฺถจารี วัดไทยกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. 13440 Layhill Road, Silver Spring, MD 20906
Tel.(301) 871-8660, 871-8661, Fax.(301) 871-5007, E-mail: t_inthisan@hotmail.com, t_inthisan@rediffmail.com www.thanat.iirt.net, www.handytour.blogspot.com
ส่งด่วนภายในเดือนกันยายนนี้ และกรุณาวางมัดจำก่อน $ 600
สั่งจ่าย (Pay to) Thanat Inthisan ส่วนที่เหลือจ่ายภายในเดือนตุลาคม ๔๘ นี้
Tuesday, August 16, 2005
ต้องการหนังสือเล่มนี้ติดต่อรับได้ที่วัดไทยฯดี.ซี.
Wednesday, August 03, 2005
ถ้าเอลโลร่า (Ellora Caves)
The
The Ellora temple caves are used for worship by different religions, namely Buddhism, Hinduism, and Jainism. These caves are a mile and a quarter long. They are located about eighteen and a half miles from the city of
The Ellora caves, which date from the period 9 to 12 A.D., were constructed later than the
The most beautiful of the Ellora caves is the tenth. It is two stories high with a pagoda inside. The top floor has a large arched balcony extending outwards. There are stone carvings of hovering devas on the exterior face of the cave. The ceiling is a Sanchi-style dome. In the stupa there is a large Buddha image.
The eleventh and twelfth caves, which are considered to be more important than the other caves, are three stories high. Each story consists of a large residence hall (vihara) that the monks used. The monks’ cells extend off from the halls. The viharas are decorated with large columns and include balconies. Each top story, which contains many Buddha images lined up in a row, has a large Buddha sculpture. The fourth cave is currently used for Dhamma study, and the twelfth for merit ceremonies and as a monks’ quarters.
The seventeenth cave was the Hindu cave. The Hindu people wanted their caves to be a treasure of Hindu religion. They constructed caves thirteen through twenty-nine.
It was well known that the sixteenth cave, the Kailash cave, was the most beautiful of all the Ellora caves. This cave was carved from top to bottom out of a mountain. Altogether the stone that was removed weighed about 200,000 tons. The stone was carved into a very large and very beautiful Hindu-style temple. Around the temple walls and doors there are various forms of the Hindu god (tavathas) with his consort. Inside what was the monks’ residence is a large Shiva-lincum (phallus). On the ceiling of the temple is a carving of a lotus. Many Hindu people come here to worship. When they enter they feel that they are connected with their ancestors. Because the temple cave is so enormous, in every direction there are stone carvings of Hindu tavathas miles long.
When the Jains were in power, they built caves that modeled the caves the Buddhists and Hindus had built. This is especially true of the thirty-second Jain cave. This temple cave contains a stone carving of Mahavira sitting in the meditation position under a banyan tree. Another carving depicts a naked male standing with a vine wrapped around his arms and legs. However, all thirty-four caves have carving of devas at the ceiling angles, as well as carvings covering the columns with large lotus petals at the capitals of the columns.
By PhramahaThanat Inthisan Ph.D.
Edited by Duwayne
พระสถูปสาญจี เมืองโภปาล ประเทศอินเดีย
The Great Sanchi Stupa
The great Sanchi stupa looks like a huge bowl placed upside down. It has been well known since ancient times. Built between the years 200 B.C. to 200 A.D., it is the oldest stone structure from the era of Great King Asoka. The ancient hill of Sanchi was called Shikiri City of Jetiyakiri, jetiyakiri meaning the mountain with the pagoda on top. The Sanchi stupa is located in the Madhya Pradesh (state) in central
The ancient hill of Sanchi was in proximity to Ujayni, the capital city of
The stupa is well preserved to this day. It is constructed of rectangular-shaped stones lined up in rows. It is about 120 feet in diameter and about 52.5 feet in height. The stupa is topped by a ceremonial umbrella (chatta). The area around the stupa is quite large and enclosed by stone balustrades. These balustrades are curved, designed to conform to the shape of the stupa. They are known as King Asoka Fence. All four entrances to the stupa have stone carvings of the Buddha depicting different periods of his life. There are carvings of the birth of the Buddha, Lumpini Grove where he was born, his reaching Enlightenment, his preaching the Dhamma, his leaving the palace to become a monk, and his passing into Nirvana. There are carvings of the Buddha converting the three ascetics. Another scene shows his relics being divided among the eight cities. There are even carvings which illustrate the lifestyles of the people of the time.
Two small stupas were subsequently constructed on either side of the larger one. The one on the right was built to enshrine the venerable Sariputta’s relics. The other small stupa on the left contains the venerable Maha Moggallana’s relics. The venerable Sariputta and the venerable Maha Moggallana were the Buddha’s chief disciples. There was also a sangkaram (temple, wat) at the rear. Another stupa at the temple holds the relics of Mokkalibutisa Thera, Great King Asoka’s teacher and the abbot of the temple, as well as the relics of arahants respected by the king.
Near the great stupa at the wat there was a Dhamma hall used for religious ceremonies. Only remnants of this building remain, including the bases of the stone columns. At the front of the great stupa there was a monolithic pillar, now broken. A long section of the pillar is now on the ground where the monks’ residence hall (vihara) used to be at the temple. The inscription on the piece of pillar states the following: “If anyone moves or destroys this stone pillar, that person will be punished.” The inscription warned that anyone tampering with the pillar was committing a sin.
Edited by Duwayne
พระเชตวันมหาวิหาร เมืองสาวัตถี (Jetavana Sravasti)
กุสินารา สถานที่ปรินิพพาน (Kusinagar)
Kusinara, the Place of the Buddha’ Parinibbana
I. Location and Historical Significance
Kusinara (Kusinagar, Kushinagar) is the place where the Buddha passed away at the age of eighty (reached Mahaparinibbana, “the great fullness of Enlightenment”). It is about thirty-four miles east of Gorakhpur in the state of Uttar Pradesh in northern India. It is next to the town of Kasia (Kusia). Ancient Kasia, known as Kushavati, though not very large, was the center of the Malla tribe of eastern India. The Buddha himself provides some historical perspective on the old town. In the Mahaparinibbana Sutta, defending his choice of Kusinara as the place of his passing away in the face of Ananda’s opposition, the Buddha says that Kusinara, named Kusavati in previous times, was once a rich and populous capital that never slept, ruled by the righteous King Mahasudassana, who had conquered all the adjoining areas (cf. the “Mahaparinibbana Sutta: The Great Passing; The Buddha’s Last Days,” in The Long Discourses of the Buddha (Digha Nikaya), II:16.5.18).
Over the centuries following the Buddha’s death, Kusinara had an up-and-down history (cf. Middle Land, Middle Way; A Pilgrim’s Guide to the Buddha’s India, by Ven. S. Dhammika, p. 167, for what follows in the rest of this section). When Huien Tsiang came to Kusinara in the early part of the seventh century, the place was already in ruins. However, a few decades later when I Tsing came, there were more than one hundred monks there, with five hundred there during the pilgrimage season. When the Korean Hye Ch’o traveled there about 725 A.D., the place was once again in decline. The site was more or less abandoned. After 725 A.D., even before the Muslim invasions, historical records are silent about Kusinara.
After hundreds of years of neglect following the Muslim invasions, Kusinara was rediscovered in the middle of the nineteenth century. At the suggestion of H. H. Wilson in 1854 that the town of Kasia might be Kusinara, Alexander Cunningham visited the area in 1861-62 and agreed with Wilson’s assessment. In 1876 Cunningham’s assistant, A. C. L. Carlleyle, excavated the area around Kasia. He found the large reclining Buddha statue currently exhibited in the Nirvana Temple at Kusinara. However, only after further excavations between 1904 and 1912 which produced seals and an inscription was there conclusive proof that Kasia was ancient Kusinara. Just as the Burmese played a key role in the preservation of the shrine of Bodh Gaya through their missions to repair the premises, so, too, did they play a role in the rejuvenation of Kusinara. For in the 1900s Venerable U. Chandramani, a monk from Burma, made a pilgrimage to Kusinara, built a temple there, and in the following years took care of the visitors who began coming. In 1956 the Government of India built the presently existing Nirvana Temple at Kusnara in conjunction with the Buddha Jayanti Celebrations, the 2500th anniversary of the Buddha’s death, when Buddha Jayanti Park was built in Delhi.
II. The Story of the Buddha’s Passing Away:
a Synopsis of the Text
The Mahaparinibbana Sutta in the Digha Nikaya is the story of the Buddha’s passing away. The first two-thirds of the sutta (II:16.1.1-4.43) deal with a variety of topics leading up to the final journey to Kusinara: the discussions on morality, the Noble Truths, and the Mirror of Dhamma; the trip to the grove of Ambapali, the courtesan, and the meal with her; the Buddha’s sickness at Beluva during the rainy season; the discussion of the Dhamma as an island and of the four roads to power; the evil Mara’s visit with the Buddha at Capala Shrine three months before the Parinibbana; the discussion of the eight stages of mastery and eight stages of liberation; the discourse to the assembly of the monks in the Great Forest; the Buddha’s final trip to Vesali for alms; the discourse to the monks at Bhandagama and several other locations; the meal prepared by Cunda, the smith, at Pava and the Buddha’s ensuing sickness; and the visit of Pukkusa, a student of Alara Kalama, with the Buddha on his final journey from Pava to Kusinara.
Of the events leading up to the trip to Kusinara, the incident involving Cunda is important and instructive (cf. 4.13-20, 4.42). The Buddha, Ananda, and a large group of monks traveled to Pava to the mango grove of Cunda, the smith. The Buddha instructed him on the Dhamma. Cunda, in turn, offered to prepare a meal of “pig’s delight.” After the Buddha had eaten the meal, he became so sick it was as if he were going to die. However, he endured his sickness with mindfulness and did not complain. He then suggested to Ananda that they journey to Kusinara. While resting on the road, the Buddha exhibited his special powers by making the dirty water of a stream clean so that Ananda could bring him it to him to drink. Later the Buddha instructed Ananda on what to say to Cunda so that the latter would not feel remorse about the sickness he had caused.
The last third of the Mahaparinibbana Sutta (II:16.5.1-6.28) covers the passing away of the Buddha and the events immediately prior to this. The Buddha, Ananda, and a large group of monks crossed the Hirannavati River to the sala grove near Kusinara in preparation for the Parinibbana. At the Buddha’s behest, Ananda prepared a bed between two sala trees with the head to the north. The Buddha was tired and wanted to lie down. The Buddha told Upavana, standing in front fanning him, to move to the side so the devas from ten world-spheres could see him. They knew he would take leave of the earth in the last watch of the night, and they wanted to see him while they had the chance. Ananda asked the Buddha what was to be done with his remains. The Buddha said his remains were to be treated like the remains of a “wheel-turning monarch” (5.11): they were to be wrapped 500 times in cotton and a new cloth, placed in an iron oil-vat, and cremated on a perfumed funeral pyre; then a stupa was to be built at the crossroads. Ananda wept at the thought of the Buddha’s passing away, but he reminded his disciple that everything pleasant and delightful is changeable, i.e., that everything that is born decays. Ananda expressed the wish that the Buddha not die in the miserable little town of Kusinara, but the latter recounted the glorious history of ancient Kusavati and its ruler, King Mahasudassana. The Buddha sent Ananda to Kusinara to tell the Mallas there of his imminent passing away. The Mallas came to the sala grove with great weeping and, family-by-family, paid homage to him.
It happened at that time that a wanderer by the name of Subhadda was in Kusinara. Hearing that the Buddha was about to pass away, he went to the sala grove to gain Enlightenment. Though Ananda insisted several times that Subhadda not disturb the Buddha, the Buddha urged his disciple to let the wanderer see him. Subhadda asked the Buddha if the famous ascetics and Brahmins had realized the truth, or not. The Buddha, typically, refused to be drawn into a debate about other doctrines. His tact was to shift the focus to the efficaciousness, therefore validity, of his own teaching: only the Dhamma with the Noble Eightfold Path had produced Stream-Winners, Once-Returners, Non-Returners, and Arahants (cf. 5.27). (This little passage is quite significant for providing some insight into the way in which the Buddha “defends” his teaching in the face of contending doctrines without engaging in debate. It can be studied in the context of two other masterful pieces: the “Dighanakha Sutta; To Dighanakha,” in The Middle Length Discourses of the Buddha (Majjhima Nikaya), Number 74 (“debate” by accepting a view at face value and showing it is untenable (Dighanakha’s “Nothing is acceptable to me”) (74.6-8); and the ensuing brief analysis of material form, and of kinds of feelings, here representative of all mental factors—an analysis which leads to liberation (9-13)); and the “Satipatthana Sutta; The Foundations of Mindfulness,” in The Middle Length Discourses, No. 10 (a full-blown analysis of material forms, mental factors, etc.: mindfulness/insight meditation leading to liberation).) Subhadda subsequently saw the truth of the Dhamma and was ordained—the Buddha’s last personal disciple.
The Buddha spoke further, first to Ananda, then to the assembly of the monks. He told Ananda he would have no successor: the only teacher after his death would be the Dhamma itself. To the assembly of the monks he spoke his last words: “all conditioned things are of a nature to decay—strive on untiringly” (6.7).
Having gone through the various jhanas and Spheres, the Buddha passed away (cf. 6.8-6.9: the four jhanas and the various Spheres, e.g., the Sphere of Neither-Perception-Nor-Non-Perception, the Sphere of No-Thingness, etc.; cf., also, 3.33: the eight liberations). A terrible earthquake occurred, together with thunder. Some of the monks wept passionately; others bore their loss mindfully. The next morning the monk Anuruddha sent Ananda to Kusinara to tell the Mallas about the death of the Buddha. The Mallas, anguished and sorrowful, came to pay homage, paying respect with song and dance for six days. On the seventh day they carried the body through the city to the shrine of Makuta-Bandhana and wrapped the body in linen and cotton wool. The Venerable Kassapa the Great, who had been traveling from Pava to Kusinara with an entourage of monks, went to the Mallas’ shrine to pay homage. Once he had done so, the funeral pyre ignited by itself, and the Buddha’s body was burned so that only the bones remained. The leaders of eight cities—Magadha, Vesali, Kapilavatthu, Allakappa, Ramagama, Vethadipa, Pava, and Kusinara—laid claim to the relics of the Buddha. The Brahmin Dona divided the relics among the eight cities. The leaders of the eight cities built stupas for the relics, Dona build a stupa for the urn, and the Moriyas of Pipphalavana built a stupa for the embers in their city.
III. What to See at Kusinara Today
Why go to Kusinara? It is one of the four sites the Buddha himself recommended the faithful visit: the place of his birth, Lumbini Park; the place of his Enlightenment, Bodh Gaya; the place of his first discourse, Sarnath—and the place of his passing away, Kusinara (cf. 5.8 of the Mahaparinibbana Sutta).
Kusinara today is noteworthy both for the ancient monuments to be found there as well as for the temples that have recently been built (for the following, cf. D. C. Ahir, Buddhism in Modern India, pp. 46-48; cf., also, Dhammika, Middle Land, Middle Way, pp. 168-169). The temple by which Kusinara is recognized today is the Nirvana Temple with its barrel-vaulted roof and its large round glass windows. It is at the site of the ancient temple, which also had a barrel-vaulted roof. The Nirvana Temple is noteworthy for the large reclining Buddha statue that it contains. This statue, twenty feet long and dating from the 400s A.D., was carved from one piece of red sandstone. Carlleyle found it in 1876 when he excavated at the site of the original temple. Behind the Nirvana Temple is the main stupa, seventy-five feet high, which was restored by Venerable U. Chandramani, the Burmese monk, in 1927. There is some difference of opinion about whether the Buddha passed away at the spot where the temple exists or where the stupa exists. (According to Ahir, p. 47, the reclining statue in the temple is thought to be the place where the Buddha died. According to Dhammika, p. 168, however, the stupa marks the spot. Dhammika argues that the present stupa consists of stupas within stupas, in the first of which were found charcoal and black earth, presumably from a funeral pyre. It is not clear why material from the site of the creation stupa were be present in the main stupa.) Down the road and south of the Nirvana temple and the main stupa lies the Matha-Kuar temple. It should be noted that this is the temple that was built in 1927 by the Burmese to hold a large Buddha statue. This statue, ten feet high and about 1000 years old, represents the Buddha in the earth-touching position under the bodhi tree at the time of his Enlightenment. About one mile east of the Matha-Kuar temple is the remains of the cremation stupa, the Makutabandhana Chaitya (the site of the Mallas shrine) or Ramabhar stupa (from the name of the nearby pond), where the Buddha’s body was burned. The cremation stupa was a drum-shaped structure. It was large: it was 112 feet in diameter, its base 155 feet in diameter. Modern temples, lastly, have also been constructed at Kusinara by the people of China, Sri Lanka, Thailand, and Japan.